ไตและการดูแลไตด้วย
ปู่จิงตัน(PUJINGTUN)
ไต (Kidney) เป็นอวัยวะที่อยู่ส่วนล่างของช่องท้อง มีสองข้าง คือซ้ายและขวา รูปร่างคล้ายเมล็ดถั่วแดง ยาวประมาณ 10-13 เซนติเมตร กว้าง 6 เซนติเมตร หนา 3 เซนติเมตร มีน้ำหนักรวมกันประมาณ 300 กรัม มีต่อมหมวกไต (Adrenal gland) อยู่ด้านบนของไตทั้งสองข้าง มีชั้นไขมันสองชั้นห่อหุ้มอยู่ ภายในไตนั้นจะมี 2 ชั้น คือ ชั้นนอก เรียกว่า คอร์เทกซ์ (cortex) ส่วนนี้มีสีแดง เพราะมีโกบเมรูลัสอยู่ ขณะที่ชั้นใน จะเรียกว่า เมดูลลา (medulla) ส่วนนี้มีสีขาว ส่วนใหญ่ประกอบด้วยท่อหน่วยไต ส่วนของเมดูลลาที่ยื่นเข้าไปจรดกับโพรงที่ติดกับหลอดไตเรียกว่า พาพิลลา (papilla) และเรียกโพรงนี้ว่า กรวยไต (pelvis)
หากถามว่า
"ไต" เป็นอวัยวะของระบบใดในร่างกายมนุษย์ ก็ต้องตอบว่าเป็นส่วนหนึ่งของ
"ระบบทางเดินปัสสาวะ" เพราะมีหน้าที่กรองเอาของเสีย น้ำ
และเกลือแร่ส่วนเกินจากเลือดที่ไหลผ่านไปไปสร้างปัสสาวะเมื่อผลิตเสร็จแล้วก็จะส่งผ่านไปทางท่อไต
นำไปเก็บไว้ที่กระเพาะปัสสาวะ เมื่อมีปริมาณปัสสาวะมากพอ เราจึงรู้สึกปวดปัสสาวะ
อยากจะถ่ายปัสสาวะขับของเสียออกนั่นเอง
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นโรคไต มีดังนี้
1. กรรมพันธุ์ โรคไตบางชนิดเกิดขึ้นจากกรรมพันธุ์ เช่น โรคไตเป็นถุงน้ำ (Polycystic Kidney Disease) ที่มีทั้งแบบที่เกิดกับทารก ซึ่งมักจะทำให้เด็กเสียชีวิตตั้งแต่เกิด และแบบที่เกิดกับผู้ใหญ่ ที่จะพบความผิดปกติเมื่ออายุ 20-30 ปีขึ้นไป อย่างไรก็ตาม กรรมพันธุ์ไม่ใช่สาเหตุหลัก และผู้ป่วยโรคไตจากกรรมพันธุ์ก็มีน้อยมาก แต่ถ้ามีใครคนหนึ่งในครอบครัวเป็นโรคไตขึ้นมา โอกาสที่เครือญาติพี่น้องจะเป็นด้วยก็มีสูงถึง 90% จึงควรไปตรวจสุขภาพกันยกครอบครัว
2. โรคความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูงจะส่งผลกระทบต่อไตด้วย หากเป็นนาน ๆ ไตก็เสื่อมลง จนถึงขั้นไตวายเรื้อรัง ซึ่งเชื่อไหมว่าผู้ที่เป็นไตวายเรื้อรัง ราว 30-50% ล้วนเกิดจากมีความดันโลหิตสูงทั้งสิ้น และในทางตรงข้าม คนที่เป็นโรคไตบางชนิดก็อาจเป็นโรคความดันโลหิตสูงตามมาเช่นกัน
3. โรคเบาหวาน ถือเป็นสาเหตุของโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายราว ๆ 30% เพราะผู้ที่เป็นเบาหวานมานานแล้วจะเกิดการเปลี่ยนแปลงที่หลอดเลือดของไต ทำให้ไข่ขาวออกมาในปัสสาวะ นอกจากนี้ ผู้ป่วยเบาหวานยังติดเชื้อทางเดินปัสสาวะได้ง่ายกว่าปกติ ทำให้เกิดกรวยไตอักเสบได้ หากเป็นบ่อย ๆ นาน ๆ เข้า ก็ทำให้ไตอักเสบ ไตวาย แล้วยังมีผลทำให้เกิดความดันโลหิตสูงตามมาด้วย
4. ความอ้วน เพราะคนอ้วนจะมีเมตาบอลิซึมสูงกว่าคนปกติ ทำให้เกิดของเสียต่าง ๆ มากขึ้น ดังนั้น ไต ที่เป็นอวัยวะกรองของเสียก็จะทำงานหนักขึ้นตามไปด้วย
5. อายุ เมื่อคนเราแก่ตัวขึ้น สังขารร่างกายก็ร่วงโรยไปตามวัย เช่นเดียวกับ ไต ที่จะเริ่มเสื่อมตั้งแต่อายุ 35 ปี เท่ากับว่ายิ่งอายุมากขึ้น ไตก็จะยิ่งเสื่อมตามอายุลงไปด้วย โดยเฉพาะผู้สูงอายุเพศชายที่มีโอกาสต่อมลูกหมากโตสูงขึ้น ทำให้ทางเดินปัสสาวะอุดตัน ส่งผลกระทบต่อไตได้
6. อาหาร อาหารหลายชนิดที่หากรับประทานเข้าไปมาก ๆ จะยิ่งเป็นอันตรายต่อไต โดยเฉพาะอาหารรสเค็มจัดที่จะไปทำให้ความดันโลหิตสูง แล้วส่งผลกระทบต่อไปที่ไต รวมทั้งอาหารกลุ่มโปรตีนที่มีงานวิจัยพบว่า เนื้อสัตว์ถือเป็นของเสียในร่างกาย หากทานเข้าไปมาก ๆ จะมีของเสียเหลือตกค้างในร่างกายมาก ทำให้ไตที่มีหน้าที่กรองของเสียทำงานหนักมากขึ้น แต่ถ้าเป็นโปรตีนจากเนื้อปลา หรือไข่ขาว นั้นสามารถทานได้ เพราะเป็นโปรตีนคุณภาพสูงและย่อยง่าย
7. ยา ยาบางชนิดที่ไม่ส่งผลดีต่อไตนัก เช่น ยาแก้ข้อกระดูกอักเสบ (พวก NSAID)
ที่ทำให้เกิดไตวายได้
รวมทั้งสารทึบรังสีบางชนิดที่ใช้ฉีดผู้ป่วยเวลาตรวจทางเอกซเรย์ก็มีผลให้ไตวายได้เช่นกัน
ดังนั้น หากเลี่ยงได้ก็ควรเลี่ยง
8. อาชีพและอุบัติเหตุ คนบางอาชีพมีโอกาสเสี่ยงเป็นโรคไตได้มากกว่าคนทั่วไป เช่น นักมวย ที่อาจถูกเตะต่อยบริเวณไต รวมทั้งคนที่ทำงานในโรงงาน ก็อาจได้รับสารพิษสะสมในไตมานาน
1. กรรมพันธุ์ โรคไตบางชนิดเกิดขึ้นจากกรรมพันธุ์ เช่น โรคไตเป็นถุงน้ำ (Polycystic Kidney Disease) ที่มีทั้งแบบที่เกิดกับทารก ซึ่งมักจะทำให้เด็กเสียชีวิตตั้งแต่เกิด และแบบที่เกิดกับผู้ใหญ่ ที่จะพบความผิดปกติเมื่ออายุ 20-30 ปีขึ้นไป อย่างไรก็ตาม กรรมพันธุ์ไม่ใช่สาเหตุหลัก และผู้ป่วยโรคไตจากกรรมพันธุ์ก็มีน้อยมาก แต่ถ้ามีใครคนหนึ่งในครอบครัวเป็นโรคไตขึ้นมา โอกาสที่เครือญาติพี่น้องจะเป็นด้วยก็มีสูงถึง 90% จึงควรไปตรวจสุขภาพกันยกครอบครัว
2. โรคความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูงจะส่งผลกระทบต่อไตด้วย หากเป็นนาน ๆ ไตก็เสื่อมลง จนถึงขั้นไตวายเรื้อรัง ซึ่งเชื่อไหมว่าผู้ที่เป็นไตวายเรื้อรัง ราว 30-50% ล้วนเกิดจากมีความดันโลหิตสูงทั้งสิ้น และในทางตรงข้าม คนที่เป็นโรคไตบางชนิดก็อาจเป็นโรคความดันโลหิตสูงตามมาเช่นกัน
3. โรคเบาหวาน ถือเป็นสาเหตุของโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายราว ๆ 30% เพราะผู้ที่เป็นเบาหวานมานานแล้วจะเกิดการเปลี่ยนแปลงที่หลอดเลือดของไต ทำให้ไข่ขาวออกมาในปัสสาวะ นอกจากนี้ ผู้ป่วยเบาหวานยังติดเชื้อทางเดินปัสสาวะได้ง่ายกว่าปกติ ทำให้เกิดกรวยไตอักเสบได้ หากเป็นบ่อย ๆ นาน ๆ เข้า ก็ทำให้ไตอักเสบ ไตวาย แล้วยังมีผลทำให้เกิดความดันโลหิตสูงตามมาด้วย
4. ความอ้วน เพราะคนอ้วนจะมีเมตาบอลิซึมสูงกว่าคนปกติ ทำให้เกิดของเสียต่าง ๆ มากขึ้น ดังนั้น ไต ที่เป็นอวัยวะกรองของเสียก็จะทำงานหนักขึ้นตามไปด้วย
5. อายุ เมื่อคนเราแก่ตัวขึ้น สังขารร่างกายก็ร่วงโรยไปตามวัย เช่นเดียวกับ ไต ที่จะเริ่มเสื่อมตั้งแต่อายุ 35 ปี เท่ากับว่ายิ่งอายุมากขึ้น ไตก็จะยิ่งเสื่อมตามอายุลงไปด้วย โดยเฉพาะผู้สูงอายุเพศชายที่มีโอกาสต่อมลูกหมากโตสูงขึ้น ทำให้ทางเดินปัสสาวะอุดตัน ส่งผลกระทบต่อไตได้
6. อาหาร อาหารหลายชนิดที่หากรับประทานเข้าไปมาก ๆ จะยิ่งเป็นอันตรายต่อไต โดยเฉพาะอาหารรสเค็มจัดที่จะไปทำให้ความดันโลหิตสูง แล้วส่งผลกระทบต่อไปที่ไต รวมทั้งอาหารกลุ่มโปรตีนที่มีงานวิจัยพบว่า เนื้อสัตว์ถือเป็นของเสียในร่างกาย หากทานเข้าไปมาก ๆ จะมีของเสียเหลือตกค้างในร่างกายมาก ทำให้ไตที่มีหน้าที่กรองของเสียทำงานหนักมากขึ้น แต่ถ้าเป็นโปรตีนจากเนื้อปลา หรือไข่ขาว นั้นสามารถทานได้ เพราะเป็นโปรตีนคุณภาพสูงและย่อยง่าย
8. อาชีพและอุบัติเหตุ คนบางอาชีพมีโอกาสเสี่ยงเป็นโรคไตได้มากกว่าคนทั่วไป เช่น นักมวย ที่อาจถูกเตะต่อยบริเวณไต รวมทั้งคนที่ทำงานในโรงงาน ก็อาจได้รับสารพิษสะสมในไตมานาน
ปู่จิงตัน มีสรรพคุณช่วยบำรุงตับและไตให้แข็งแรง
ลดอาการที่เกิดจากภาวะไตอ่อนแอ ช่วยควบคุมและเพิ่มสารจำเป็นในร่างกาย บำรุงสายตา
และช่วยไม่ให้ผมหงอกก่อนวัย มีประโยชน์อย่างยิ่งต่อผู้ที่มีภาวะไตอ่อนแอ
ปัสสาวะบ่อยครั้ง ผู้ที่อยู่ในภาวะเสี่ยงเป็นเบาหวาน ช่วยชะลอวัย และให้มีอายุยืนยาวแข็งแรง
วิธีรับประทาน
วิธีรับประทาน
เดือนแรก
ก่อนอาหารเช้า 4 แคปซูล ก่อนอาหารเย็น 4 แคปซูล
สำหรับผู้ที่ปัสสาวะบ่อยตอนกลาคืน มากกว่า 1 ครั้ง/คืน
หรือมีอาการเมื่อยเอว เข่าอ่อน หลั่งเร็ว
ถ้าอาการไม่มาก ในเดือนต่อไป
กินก่อนอาหารเช้า 2 แคปซูล ก่อนอาหารเย็น 2 แคปซูล
กินเพื่อรักษาสุขภาพ ก่อนอาหารเช้าหารเย็น 1 เม็ด
ปริมาณและราคา 1 ขวดบรรจุ 60 แคปซูล ราคา 1,000 บาท
อย. เลขที่ 13-1-02950-1-0036
คุณ จุฑาชลัท อินทวะระ โทร.082-0571981 , 097-3983248
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น