ผู้มีความเสี่ยงเป็นโรคไต
และปู่จิงตัน (PUJINGTUN)
ผู้ที่มีความเสี่ยงเป็นโรคไต
1. ผู้ป่วยโรคเบาหวาน
2. ผู้ที่มีอายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไป
3. ผู้ที่มีน้ำหนักแรกคลอดต่ำ น้อยกว่า 2,500 กรัม
3. ผู้ที่มีน้ำหนักแรกคลอดต่ำ น้อยกว่า 2,500 กรัม
4. ผู้ที่มีประวัติบุคคลในครอบครัวเป็นโรคไต
5. ผู้ป่วยโรคนิ่วในทางเดินปัสสาวะ
6. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
7. ผู้ป่วยโรคเนื้องอกในไต
8. ผู้ที่ได้รับสารพิษจากยาบางชนิด หรือสารแปลก
ปลอมอยู่เป็นประจำ หรือมากเกิน
9. ผู้ป่วยโรคภูมิแพ้เซลล์ตัวเอง
10. ผู้ป่วยโรคติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
อาการของโรคไต
อาการต่างๆ ต่อไปนี้
แสดงให้เห็นว่าคุณมีปัญหาโรคไตเกิดขึ้นแล้ว
1. เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย ซีด ผู้ที่เป็นโรคไต ถ้าเป็นน้อย ๆ
มักไม่แสดงอาการ แต่เมื่อเป็นมากขึ้น ผู้ป่วยจะรู้สึกเหนื่อยง่าย
อ่อนเพลีย หากเป็นมาก ๆ ใกล้เป็นไตวายเรื้อรังจะเพิ่มอาการ
ซีด คันตามตัว เบื่ออาหาร
1. เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย ซีด ผู้ที่เป็นโรคไต ถ้าเป็นน้อย ๆ
มักไม่แสดงอาการ แต่เมื่อเป็นมากขึ้น ผู้ป่วยจะรู้สึกเหนื่อยง่าย
อ่อนเพลีย หากเป็นมาก ๆ ใกล้เป็นไตวายเรื้อรังจะเพิ่มอาการ
ซีด คันตามตัว เบื่ออาหาร
2. มีอาการบวมทั้งตัว ผู้ป่วยโรคไตส่วนมากจะมีอาการ
บวมตามตัว เกิดจากการมีน้ำและเกลือเพิ่มขึ้นในร่างกาย ระยะ
แรกอาจมีเพียงการบวมที่หนังตา และหน้า ต่อมาจะมีการบวมที่
ขาและเท้าทั้งสองข้าง โดยอาจรู้สึกว่าแหวนหรือรองเท้าคับขึ้น
ถ้าบวมไม่มากอาจสังเกตไม่เห็น แต่ทดสอบได้ด้วยการลองใช้
นิ้วกดที่หน้าแข้งสักพักแล้วปล่อย หากพบว่ามีรอยบุ๋มอยู่แสดง
ว่าบวมแน่น ควรไปพบแพทย์เพื่อตรวจร่างกายอย่างละเอียด
เพื่อวินิจฉัยโรค เพราะอาการบวมอาจไม่ได้เป็นโรคไตก็ได้ แต่
ยังเกี่ยวข้องกับโรคหัวใจ และโรคตับ ดังนั้น การตรวจปัสสาวะ
น่าจะได้ผลที่ชัดเจนที่สุด
3. ความดันโลหิตสูงมากๆ เคยได้ยินใช่ไหมว่าการกินอาหาร
รสเค็ม ๆ มาก ๆ จะทำให้ไตทำงานหนัก และเสี่ยงต่อการเป็น
โรคความดันโลหิตสูงด้วย เพราะฉะนั้น ถ้าใครที่ไม่เคยมีอาการ
อะไรมาก่อน แต่พอไปตรวจสุขภาพกลับเจอความดันโลหิตสูง
มาก ๆ อาจอนุมานได้ว่า ไตของเรามีความผิดปกติขึ้นแล้ว ควร
ให้แพทย์ตรวจอย่างละเอียดเพื่อเช็กว่าเป็นโรคไตด้วยหรือไม่
รสเค็ม ๆ มาก ๆ จะทำให้ไตทำงานหนัก และเสี่ยงต่อการเป็น
โรคความดันโลหิตสูงด้วย เพราะฉะนั้น ถ้าใครที่ไม่เคยมีอาการ
อะไรมาก่อน แต่พอไปตรวจสุขภาพกลับเจอความดันโลหิตสูง
มาก ๆ อาจอนุมานได้ว่า ไตของเรามีความผิดปกติขึ้นแล้ว ควร
ให้แพทย์ตรวจอย่างละเอียดเพื่อเช็กว่าเป็นโรคไตด้วยหรือไม่
4. ปวดหลัง ปวดบั้นเอว ไต
เป็นอวัยวะที่อยู่บริเวณช่วงหลัง
ด้านล่างของเรา ดังนั้น หากไตเกิดความผิดปกติขึ้น เราอาจ
รู้สึกปวดหลัง บั้นเอวที่บริเวณชายโครง ร้าวไปถึงท้องน้อย
หัวหน่าว และที่อวัยวะเพศได้ บางคนก็ถึงขั้นปวดกระดูกและ
ข้อ ซึ่งอาจเป็นเพราะมีการอุดตันที่ท่อไต กรวยไตอักเสบ หรือ
ในท่อไตมีถุงน้ำโป่งพองก็ได้ แต่อาการปวดหลังก็สามารถ
วินิจฉัยได้หลายโรคเช่นกัน จึงต้องตรวจสอบอาการอื่นควบคู่ ๆ
ไปด้วย
ด้านล่างของเรา ดังนั้น หากไตเกิดความผิดปกติขึ้น เราอาจ
รู้สึกปวดหลัง บั้นเอวที่บริเวณชายโครง ร้าวไปถึงท้องน้อย
หัวหน่าว และที่อวัยวะเพศได้ บางคนก็ถึงขั้นปวดกระดูกและ
ข้อ ซึ่งอาจเป็นเพราะมีการอุดตันที่ท่อไต กรวยไตอักเสบ หรือ
ในท่อไตมีถุงน้ำโป่งพองก็ได้ แต่อาการปวดหลังก็สามารถ
วินิจฉัยได้หลายโรคเช่นกัน จึงต้องตรวจสอบอาการอื่นควบคู่ ๆ
ไปด้วย
ทั้งนี้
หากเรากดหลัง และทุบเบา ๆ แล้วมีอาการเจ็บ อาจ
แสดงว่าเป็นโรคไตเรื้อรัง หรือไตอักเสบ ถ้ามีไข้สูงร่วมด้วยอาจ
เป็นสัญญาณของกรวยไตอักเสบติดเชื้ออย่างเฉียบพลัน ซึ่งก็มี
หลายโรคที่ทำให้เกิดภาวะไตเสื่อมร่วมด้วย เช่น โรคเบาหวาน
ความดันโลหิตสูง โรค SLE เป็นต้น
แสดงว่าเป็นโรคไตเรื้อรัง หรือไตอักเสบ ถ้ามีไข้สูงร่วมด้วยอาจ
เป็นสัญญาณของกรวยไตอักเสบติดเชื้ออย่างเฉียบพลัน ซึ่งก็มี
หลายโรคที่ทำให้เกิดภาวะไตเสื่อมร่วมด้วย เช่น โรคเบาหวาน
ความดันโลหิตสูง โรค SLE เป็นต้น
5. ปัสสาวะผิดปกติ เนื่องจาก ไต
อยู่ในระบบทางเดิน
ปัสสาวะ ดังนั้น หากเกิดความผิดปกติขึ้นกับปัสสาวะ นั่นก็อาจ
หมายถึงไตทำงานผิดปกติได้ โดยเราสามารถสังเกตปัสสาวะ
ได้ดังนี้
-ปัสสาวะเป็นเลือด อาจมีหลายโรคที่ทำให้เกิดอาการนี้
ทั้งนิ่ว เนื้องอกของทางเดินปัสสาวะ กระเพาะปัสสาวะอักเสบ
อุบัติเหตุกับทางเดินปัสสาวะ หรือ เส้นเลือดฝอยของไตอักเสบ
แม้แต่มะเร็งของระบบทางเดินปัสสาวะ หรือโรคไตเป็นถุงน้ำ
ฯลฯ
-ปัสสาวะน้อยลง โดยปกติแล้วหากเราดื่มน้ำมาก
ปัสสาวะก็ควรจะมากไปด้วย แต่หากใครปัสสาวะไม่ออกเลย
อาจเป็นเพราะทางเดินปัสสาวะถูกอุดกั้น หรือการทำงานของ
ไตเสียไป ลองทดสอบง่าย ๆ ด้วยการดื่มน้ำให้มากขึ้น แล้ว
สังเกตดูว่าปัสสาวะออกมากขึ้นหรือไม่ หากปัสสาวะยังน้อยอยู่
นั่นแสดงว่าไตเริ่มผิดปกติแล้ว
ปัสสาวะ ดังนั้น หากเกิดความผิดปกติขึ้นกับปัสสาวะ นั่นก็อาจ
หมายถึงไตทำงานผิดปกติได้ โดยเราสามารถสังเกตปัสสาวะ
ได้ดังนี้
-ปัสสาวะเป็นเลือด อาจมีหลายโรคที่ทำให้เกิดอาการนี้
ทั้งนิ่ว เนื้องอกของทางเดินปัสสาวะ กระเพาะปัสสาวะอักเสบ
อุบัติเหตุกับทางเดินปัสสาวะ หรือ เส้นเลือดฝอยของไตอักเสบ
แม้แต่มะเร็งของระบบทางเดินปัสสาวะ หรือโรคไตเป็นถุงน้ำ
ฯลฯ
-ปัสสาวะน้อยลง โดยปกติแล้วหากเราดื่มน้ำมาก
ปัสสาวะก็ควรจะมากไปด้วย แต่หากใครปัสสาวะไม่ออกเลย
อาจเป็นเพราะทางเดินปัสสาวะถูกอุดกั้น หรือการทำงานของ
ไตเสียไป ลองทดสอบง่าย ๆ ด้วยการดื่มน้ำให้มากขึ้น แล้ว
สังเกตดูว่าปัสสาวะออกมากขึ้นหรือไม่ หากปัสสาวะยังน้อยอยู่
นั่นแสดงว่าไตเริ่มผิดปกติแล้ว
-ปัสสาวะบ่อย ความถี่ในการปัสสาวะของแต่ละคนนั้นไม่เท่า
กัน ขึ้นอยู่กับการดื่มน้ำ หรือการที่ร่างกายเสียน้ำไปทางอื่น ๆ
เช่น เหงื่อ หรืออุจจาระ แต่หากวันดีคืนดี รู้สึกว่าตัวเองปัสสาวะ
บ่อยผิดปกติ หรือตื่นขึ้นมาปัสสาวะในตอนกลางคืนมากกว่า
3-4 ครั้ง อาจต้องสงสัยว่าป่วยเป็นโรคไตก็ได้ เพราะกระเพาะ
ปัสสาวะจะสามารถเก็บน้ำได้ถึง 250 ซี.ซี. แต่ในคนที่เป็นโรค
ไต ไตจะไม่สามารถหยุดการขับน้ำในกระเพาะปัสสาวะ ทำให้มี
น้ำออกมามากและปัสสาวะบ่อยกว่าปกติ จึงมักจะตื่นขึ้นมา
ปัสสาวะตอนกลางดึก
กัน ขึ้นอยู่กับการดื่มน้ำ หรือการที่ร่างกายเสียน้ำไปทางอื่น ๆ
เช่น เหงื่อ หรืออุจจาระ แต่หากวันดีคืนดี รู้สึกว่าตัวเองปัสสาวะ
บ่อยผิดปกติ หรือตื่นขึ้นมาปัสสาวะในตอนกลางคืนมากกว่า
3-4 ครั้ง อาจต้องสงสัยว่าป่วยเป็นโรคไตก็ได้ เพราะกระเพาะ
ปัสสาวะจะสามารถเก็บน้ำได้ถึง 250 ซี.ซี. แต่ในคนที่เป็นโรค
ไต ไตจะไม่สามารถหยุดการขับน้ำในกระเพาะปัสสาวะ ทำให้มี
น้ำออกมามากและปัสสาวะบ่อยกว่าปกติ จึงมักจะตื่นขึ้นมา
ปัสสาวะตอนกลางดึก
แต่อย่างไรก็ตาม ปกติแล้วการปัสสาวะบ่อยในตอนกลาง
คืนส่วนใหญ่ไม่เกิดมีสาเหตุมาจากโรคไต เพราะมักจะเป็น
อาการของโรคเบาหวาน เบาจืด กระเพาะปัสสาวะอักเสบ หรือ
การกินน้ำมากเกินไปมากกว่า แต่ก็ยังอาจเป็นอาการของโรค
ไตวายในระยะแรก ดังนั้น ถ้ามีอาการปัสสาวะบ่อย โดยเฉพาะ
หากมากกว่าวันละ 3 ลิตร หรือตื่นมาปัสสาวะตอนกลางคืน ควร
มาพบแพทย์เพื่อรับการตรวจและรักษา
ส่วนการปัสสาวะตอนกลางวัน หลายคนรู้สึกว่าตัวเอง
ปัสสาวะบ่อยเกินไป ซึ่งจริง ๆ อาจไม่ได้ป่วยโรคไต แต่เกิดจาก
ความวิตกกังวลของตัวเองที่ไปกระตุ้นให้อยากปัสสาวะอยู่
เรื่อย ๆ มากกว่า
-ปัสสาวะเป็นฟองมาก ฟองสีขาว ๆ ที่เราในปัสสาวะก็คือ
โปรตีนนั่นเอง ซึ่งก็มีกันทุกคน แต่หากใครมีฟองสีขาว ๆ มาก
ผิดปกติ อาจสงสัยไว้ก่อนว่า เส้นเลือดฝอยในไตอาจอักเสบ
ทำให้มีโปรตีนรั่วไหลออกมามากผิดปกติ แต่ถึงกระนั้นก็อย่า
เพิ่งฟันธงว่าเป็นโรคไต ต้องดูอาการอื่น ๆ ควบคู่ไปด้วย เช่น
หากปัสสาวะมีฟองมากแถมยังเป็นเลือด ก็สันนิษฐานได้ว่าอาจ
เป็นโรคไตก็ได้ ให้รีบไปพบแพทย์ตรวจร่างกายโดยเร็ว
ปู่จิงตัน มีสรรพคุณช่วยบำรุงตับและไตให้แข็งแรง
ลดอาการ
ที่เกิดจากภาวะไตอ่อนแอ ช่วยควบคุมและเพิ่มสารจำเป็นใน
ร่างกาย บำรุงสายตา และช่วยไม่ให้ผมหงอกก่อนวัย มี
ประโยชน์อย่างยิ่งต่อผู้ที่มีภาวะไตอ่อนแอ ปัสสาวะบ่อยครั้ง ผู้
ที่อยู่ในภาวะเสี่ยงเป็นเบาหวาน ช่วยชะลอวัย และให้มีอายุ
ยืนยาวแข็งแรง
ที่เกิดจากภาวะไตอ่อนแอ ช่วยควบคุมและเพิ่มสารจำเป็นใน
ร่างกาย บำรุงสายตา และช่วยไม่ให้ผมหงอกก่อนวัย มี
ประโยชน์อย่างยิ่งต่อผู้ที่มีภาวะไตอ่อนแอ ปัสสาวะบ่อยครั้ง ผู้
ที่อยู่ในภาวะเสี่ยงเป็นเบาหวาน ช่วยชะลอวัย และให้มีอายุ
ยืนยาวแข็งแรง
วิธีรับประทาน
เดือนแรก
ก่อนอาหารเช้า 4 แคปซูล ก่อนอาหารเย็น 4 แคปซูล
สำหรับผู้ที่ปัสสาวะบ่อยตอนกลางคืน มากกว่า 1 ครั้ง/คืน
หรือมีอาการเมื่อยเอว เข่าอ่อน หลั่งเร็ว
ถ้าอาการไม่มาก ในเดือนต่อไป
กินก่อนอาหารเช้า 2 แคปซูล ก่อนอาหารเย็น 2 แคปซูล
กินเพื่อรักษาสุขภาพ
ก่อนอาหารเช้า 1 เม็ด ก่อนอาหารเย็น 1 เม็ด
ผลิตภัณฑ์ ปู่จิงตัน(PUJINGTUN) สามารถแก้ปัญหา โรคไต ไตวาย อย่างได้ผล
ปริมาณและราคา 1 ขวดบรรจุ 60 แคปซูล ราคา 1,000 บาท
ดูข้อมูลที่ http://pujingtunmirvalai.blogspot.com
คุณ จุฑาชลัท อินทวะระ โทร. 082-0571981 ,
097-3983248
097-3983248
ID Line : valai1981 อีเมล์ : kprimss@gmail.com
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น